อายุน้อยพ้นภัย ความดันสูง…จริงหรือ?

โรคความดันโลหิตสูง (ความดันสูงกว่า 130/80 mmHg) เป็นภาวะโรคเรื้อรังที่ทั่วโลกกำลังให้ความสนใจอย่างมาก ดังที่มีแคมเปญล่าสุด “Know your numbers” (คุณความดันเท่าไร?) เพื่อกระตุ้นให้คนรุ่นใหม่ใส่ใจภาวะความดันสูงซึ่งเป็นภัยใกล้ตัวมากขึ้น  เนื่องจากมีสถิติล่าสุด พบว่ามีคนเสียชีวิตทั่วโลกจาก“Silent killer” หรือฆาตกรเงียบอย่างโรคความดันโลหิตสูง สูงถึง13% หรือ 10 ล้านคนต่อปี ซึ่งไทยเองก็ประสบปัญหาโรคความดันโลหิตสูง ในคนรุ่นใหม่ ที่เพิ่มมากขึ้นถึง 3.5 แสนคนต่อปี!

 

โอเมก้า 3 คือกรดไขมันจำเป็นต่อร่างกายที่ช่วยเสริมสร้างระบบการทำงานต่างๆ ซึ่งแหล่งอาหารที่มีโอเมก้า 3 โดยทั่วไปแล้วในอาหารตามธรรมชาติเช่นปลาและอาหารทะเลถั่วและเมล็ดพืช อ้างอิงข้อมูล:www.honestdocs.co

นอกจากนี้ ยังพบว่าผู้เป็น โรคความดันโลหิตสูง ส่วนใหญ่จะตรวจเจอค่าไขมันในเลือดสูงพร้อมกันด้วย (ค่าคลอเรสเตอรอลรวม มากกว่า 200 mg/dL) ซึ่งสังเกตได้จากอาการปวดศีรษะบ่อย วิงเวียน-หน้ามืดง่าย ตาพร่ามัว หายใจถี่หรือหอบเหนื่อยง่าย ใจสั่นไม่รู้สาเหตุ และหากเป็นขั้นรุนแรง ก็จะเกิดอาการแขนขาอ่อนแรง เจ็บร้าวจากหน้าอกไปที่แขนได้

ซึ่งคุณเอง! ก็อาจเป็นคนหนึ่งที่เสี่ยง ทั้งโรคความดันสูง และ ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ได้หากใช้ชีวิตประจำวันหรือมีไลฟ์สไตล์ ดังนี้

[dt_vc_list]

 

  • ชอบบริโภคอาหารทอด อาหาร Fastfood หรือมีไขมันสูง
  • ชอบขนมกรุบกรอบ หรือขนมที่มีรสเค็ม
  • ดื่มแอลกอฮอล์ – สูบบุหรี่ เป็นประจำ
  • อ้วน หรือน้ำหนักเกิน
  • ไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย
  • เครียดบ่อย หรือเครียดจัดจากการทำงาน
  • มีกรรมพันธุ์จากครอบครัว เช่น พ่อแม่ญาติสายตรง เป็นโรคความดันโลหิตสูงหรือไขมันในเลือดสูง

จะเห็นได้ว่า โรคแทรกซ้อนที่กล่าวมา ล้วนเป็นโรคที่รักษายาก ต้องใช้เวลารักษานาน และ มีค่าใช้จ่ายสูงย่อมกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำกัน และ ทำให้คุณภาพชีวิตลดลงอย่างมาก[/dt_vc_list]

อาหารที่ทำให้เสี่ยง โรคความดันสูง

 

แนวทางการป้องกันโรคความดันสูง

สำหรับแนวทางการป้องกันโรคความดันสูงและลดไขมันในเลือดด้วยตัวเอง เราสามารถปรับที่พฤติกรรมการใช้ชีวิตและเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม ได้แก่

  1. บริโภคอาหารตามหลัก DASH diet คือ ลดการใช้น้ำมันทอดอาหาร ลดการเติมเกลือ น้ำปลา ซีอิ๊ว ผงชูรส ในอาหาร เนื่องจากมีโซเดียมสูง ทำให้ความดันสูงขึ้น
  2. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เฉลี่ยสัปดาห์ละ 150 นาทีขึ้นไป (ขั้นต่ำ 30นาทีต่อครั้ง)
  3. รับประทานผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่มีโอเมกา 3 6 9 ในสัดส่วนที่เหมาะสม ซึ่งมีการวิจัยยืนยันว่าช่วยปรับสมดุลหลอดเลือด ลดไขมันตัวร้าย (LDL) เพิ่มไขมันดี (HDL) ได้จริง
  4. ปล่อยวาง หรือบริหารความเครียดในแต่ละวัน

ทั้งนี้ ในผู้ที่ระดับความดันและไขมันในเลือดสูงมาก ยังจำเป็นต้องใช้ยาตามแพทย์สั่งควบคู่ด้วย  

แนะนำผลิตภัณฑ์จากถั่วดาวอินคา

รีวิว Organoid ผู้รับประทานน้ำมันถั่วดาวอินคา